ปรัชญา (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์)
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยงานจัดการศึกษาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนาท้องถิ่นบนพื้นฐานแห่งคุณธรรม
วิสัยทัศน์ (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์)
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์เป็นหน่วยงานผลิตบัณฑิตด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีความรู้ คู่คุณธรรม ร่วมพัฒนาท้องถิ่น
พันธกิจ (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์)
- ผลิตบัณฑิตด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีคุณภาพและคุณธรรม
- การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็นไปตามมาตรฐานและสามารถบริการชุมชนได้
- พัฒนาบุคลากรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
- พัฒนาคณาจารย์และบุคลากรให้มีความก้าวหน้าด้านวิชาการและวิชาชีพ
- พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ในวิชาชีพทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
- บริหารจัดการสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ให้มีคุณภาพ
อัตลักษณ์ (สาขาวิชาคอมพิวเตอร์)
บัณฑิตเป็นคนดี มีจิตสาธารณะ ใจสู้ รู้งาน เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564
ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Computer Science
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Science (Computer Science)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Sc. (Computer Science)
3. วิชาเอก
วิทยาการคอมพิวเตอร์
4. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 125 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ หลักสูตรปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ ปริญญาตรีทางวิชาการ
5.3 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น จัดการเรียนการสอนโดยตรง
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 (ปรับปรุงมาจาก หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559)
6.2 สภาวิชาการ เห็นชอบในการนำเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยในการประชุม ครั้งที่ 8/2563 วันที่ 14 ธันวาคม 2563
6.3 สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตร ในการประชุม ครั้งที่ 10/2563 วันที่ 25 ธันวาคม 2563
6.4 เปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2566
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1) นักพัฒนาซอฟต์แวร์
2) นักวิเคราะห์และออกแบบระบบคอมพิวเตอร์
3) นักบริหารจัดระบบเครือข่าย
4) นักบริหารจัดการฐานข้อมูล
5) นักพัฒนาระบบอัจฉริยะ
6) นักพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์
7) นักวิชาการคอมพิวเตอร์ หรือนักวิชาชีพในสถานประกอบการ
8) ที่ปรึกษาด้านระบบคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ
9) ผู้ประกอบการหรือนักลงทุนด้านคอมพิวเตอร์
10) ข้าราชการ
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
1) อาจารย์ สุรสิทธิ์ อุ้ยปัดฌาวงศ์
2) อาจารย์ ดร.นิภาพร ชนะมาร
3) อาจารย์ กรกช มาตะรัตน์
4) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วีระศักดิ์ เจริญรัตน์
5) อาจารย์ ดร.ชัยนันท์ สมพงษ์
โครงสร้างหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์
หมวดวิชา |
เกณฑ์ สกอ./ 4 ปี |
โครงสร้างหลักสูตร |
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป | ไม่น้อยกว่า 30 | 30 |
1.1 รายวิชาบังคับ | 12 |
1.2 รายวิชาบังคับเลือก | 18 | |
2. หมวดวิชาเฉพาะ | ไม่น้อยกว่า 84 | ไม่น้อยกว่า 95 |
2.1 กลุ่มวิชาแกน (กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน) | 12 | 12 |
2.2 กลุ่มวิชาเอกบังคับ (กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน) | 36 | 58 หรือ 61 |
2.2.1 กลุ่มประเด็นด้านองค์การและระบบสารสนเทศ | 3 | 6 |
2.2.2 กลุ่มเทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์ | 6 | 10 |
2.2.3 กลุ่มเทคโนโลยีและวิธีการทางซอฟต์แวร์ | 12 | 15 |
2.2.4 กลุ่มโครงสร้างพื้นฐานของระบบ | 12 | 18 |
2.2.5 กลุ่มฮาร์ดแวร์และสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ |
3 | 6 |
2.2.6 กลุ่มภาษาอังกฤษ | 3 | |
2.2.7 กลุ่มโครงงาน * | 3* | |
2.3 กลุ่มวิชาเอกเลือก | ไม่น้อยกว่า 15 | |
2.3.1 กลุ่มวิชาเลือก | ไม่น้อยกว่า 12 | |
2.3.2 กลุ่มวิชาเลือกวิทยาการจัดการ | 3 | |
2.4 กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หรือ สหกิจศึกษา ** | ไม่น้อยกว่า 4 | |
2.4.1 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ การเตรียมสหกิจศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร | 1 | |
2.4.2 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ สหกิจศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์ | 0-3 หรือ 6-9 | 3 หรือ 6 |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี | ไม่น้อยกว่า 6 | ไม่น้อยกว่า 6 |
รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร | ไม่น้อยกว่า 120 | ไม่น้อยกว่า 125 |
หมายเหตุ ดูตารางแสดงการเทียบองค์ความรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิ และรายวิชาของหลักสูตรที่ภาคผนวก ง
* กลุ่มโครงงาน เฉพาะนักศึกษาเลือกฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางคอมพิวเตอร์
** นักศึกษาเลือกเรียนกลุ่มสหกิจศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์
รายวิชาในหลักสูตร
1). ความหมายของรหัสวิชา
รหัสวิชาประกอบไปด้วยเลข 8 ตัว แต่ละหลักมีความหมาย ดังนี้
หลักที่ 1 หมายถึง รหัสคณะ
หลักที่ 2-4 หมายถึง หมู่วิชา
หลักที่ 5 หมายถึง ระดับความยากง่ายหรือชั้นปีที่จัดให้เรียน
หลักที่ 6 หมายถึง กลุ่มเนื้อหาวิชาในหมู่วิชา
หลักที่ 7-8 หมายถึง ลำดับที่ของรายวิชาในกลุ่มเนื้อหาวิชา
2). รายวิชาตามโครงสร้างของหลักสูตรวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562 จัดรายวิชาสำหรับการเรียนการสอนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกสาขาวิชา กำหนดให้เรียนให้ครบทุกกลุ่มวิชา ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ดังนี้
ก. รายวิชาบังคับ จำนวน 12 หน่วยกิต
ข. รายวิชาเลือก จำนวน 18 หน่วยกิต
ก. รายวิชาบังคับ กำหนดให้เรียน จำนวน 12 หน่วยกิต ดังนี้
1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร เรียน 9 หน่วยกิต จากรายวิชา
01540108 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)
01552701 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)
01550104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 3(3-0-6)
2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียน 3 หน่วยกิต จากรายวิชา
02500104 วัฒนธรรมแอ่งสกลนคร 3(2-2-5)
ข. รายวิชาเลือก กำหนดให้เรียน จำนวน 18 หน่วยกิต โดยเลือกให้ครอบคลุม 4 กลุ่มวิชา ดังต่อไปนี้
1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร
01540109 การเขียนภาษาไทยทั่วไป 3(3-0-6)
01540107 การอ่านเพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม 3(3-0-6)
01550105 การอ่านและเขียนภาษาอังกฤษทั่วไป 3(3-0-6)
01560102 ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 3(3-0-6)
01570102 ภาษาจีนเบื้องต้น 3(3-0-6)
01670102 ภาษาลาวเบื้องต้น 3(3-0-6)
01710102 ภาษาเวียดนามเบื้องต้น 3(3-0-6)
01551601 ทักษะการพูดและการฟังภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)
01553601 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
02531203 ศิลปะการดำเนินชีวิต 3(3-0-6)
01511401 จริยธรรมเพื่อการดำเนินชีวิต 3(3-0-6)
01500109 สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 3(3-0-6)
01511502 สุนทรียภาพเพื่อชีวิต 3(3-0-6)
01500113 ศาสนธรรมเพื่อคนร่วมสมัย 3(3-0-6)
02531204 จิตตปัญญาศึกษา 3(2-2-5)
03611201 หมากล้อม 3(3-0-6)
02053301 สุนทรียะ 3(3-0-6)
3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
02531202 สังคมไทยกับโลกาภิวัตน์ 3(3-0-6)
02531201 วิถีอาเซียน 3(3-0-6)
02500106 กฎหมายเพื่อชีวิต 3(3-0-6)
02500107 สันติศึกษา 3(3-0-6)
02551101 พลเมืองศึกษา 3(3-0-6)
03500102 หลักการจัดการสมัยใหม่ 3(3-0-6)
03500104 การพัฒนาที่ยั่งยืน 3(3-0-6)
03621101 การเป็นผู้ประกอบการ 3(3-0-6)
02533201 ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 3(2-2-5)
4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ – วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
04000105 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
04000106 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศขั้นพื้นฐาน 3(2-2-5)
04000107 ชีวิตและสุขภาพ 3(3-0-6)
04071201 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
05000104 การเกษตรและอาหารเพื่อชีวิต 3(3-0-6)
05500103 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
3(3-0-6)
04000109 การพัฒนาทักษะการคิด 3(3-0-6)
05151101 เกษตรภูมิปัญญาพื้นถิ่น 3(3-0-6)
04071202 ครอบครัวศึกษา 3(3-0-6)
04002101 ทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อชีวิตและอาชีพ 3(3-0-6)
04073501 การสร้างเสริมและดูแลสุขภาวะ 3(3-0-6)
2. หมวดวิชาเฉพาะ เรียนไม่น้อยกว่า 89 หน่วยกิต
2.1 กลุ่มวิชาแกน (กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน) เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
14111103 สถิติสำหรับนักวิทยาศาสตร์ * 3(3-0-6)
14093641 วิยุตคณิต * 3(3-0-6)
14093618 วิธีการเชิงตัวเลข * 3(3-0-6)
14091507 แคลคูลัส 1* 3(3-0-6)
14111102 หลักสถิติ 3(3-0-6)
14113311 หลักการวิจัย 2(2-0-4)
หมายเหตุ * รายวิชาที่สอดคล้องตามองค์ประกอบในกลุ่มวิชาแกน ตามมาตรฐานคุณวุฒิ
2.2) กลุ่มวิชาเอกบังคับ (กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน) เรียนไม่น้อยกว่า 58 หรือ 61 หน่วยกิต
2.2.1 กลุ่มประเด็นด้านองค์การและระบบสารสนเทศ 6 หน่วยกิต
14121210 จริยธรรมสำหรับวิชาชีพคอมพิวเตอร์ 3(3-0-6)
14122609 หลักการและระบบการจัดการฐานข้อมูล 3(2-2-5)
2.2.2 กลุ่มเทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์ 10 หน่วยกิต
14122220 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2-5)
14122610 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บเบื้องต้น 3(2-2-5)
14123619 การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ 3(2-2-5)
14123906 สัมมนาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1(0-2-1)
2.2.3 กลุ่มเทคโนโลยีและวิธีการทางซอฟต์แวร์ 15 หน่วยกิต
14121307 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 3(2-2-5)
14121308 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม 3(2-2-5)
14122317 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(2-2-5)
14122318 การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงออบเจกต์ 3(2-2-5)
14123338 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ 3(2-2-5)
2.2.4 กลุ่มโครงสร้างพื้นฐานของระบบ 18 หน่วยกิต
14121106 วิทยาการคอมพิวเตอร์พื้นฐาน 3(2-2-5)
14122112 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3(2-2-5)
14122221 ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ 3(2-2-5)
14123227 การประมวลผลภาพดิจิทัล 3(2-2-5)
14123228 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2-5)
14123404 ทฤษฎีการคำนวณ 3(2-2-5)
2.2.5 กลุ่มฮาร์ดแวร์และสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ 6 หน่วยกิต
14121309 ตรรกะดิจิทัลและการเขียนโปรแกรมควบคุม 3(2-2-5)
14121703 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ 3(2-2-5)
2.2.6 กลุ่มภาษาอังกฤษ 3 หน่วยกิต
14124704 ภาษาอังกฤษสำหรับวิชาชีพคอมพิวเตอร์ 3(3-0-6)
2.2.7 กลุ่มโครงงาน 3 หน่วยกิต
14123905 โครงงานคอมพิวเตอร์ 1 1(1-0-2)
14124902 โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 2(1-2-3)
หมายเหตุ กลุ่มโครงงาน เฉพาะนักศึกษาเลือกฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางคอมพิวเตอร์
2.3 กลุ่มวิชาเอกเลือก เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
2.3.1 กลุ่มวิชาเลือก เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
1) กลุ่มการพัฒนาซอฟต์แวร์
14122320 การพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงอ็อบเจกต์ 3(2-2-5)
14123340 การพัฒนาแอปพลิเคชันข้ามแพลตฟอร์ม 3(2-2-5)
14123347 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บขั้นสูง 3(2-2-5)
14123346 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ขั้นสูง 3(2-2-5)
2) กลุ่มการบริหารจัดการเครือข่าย
14122703 การบริหารระบบเสมือนเครื่องแม่ข่ายและบริการ 3(2-2-5)
14123230 เทคโนโลยีระบบคลาวด์และการบริการ 3(2-2-5)
14123719 การประยุกต์ใช้โปรแกรมโอเพ่นซอร์สสำหรับระบบ
ความมั่นคงปลอดภัยและเครือข่ายการสื่อสาร 3(2-2-5)
14123620 การออกแบบระบบความมั่นคงปลอดภัยและ
เครือข่ายการสื่อสารสำหรับองค์กร 3(2-2-5)
3) กลุ่มการประยุกต์เทคโนโลยี
14122222 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เบื้องต้น 3(2-2-5)
14123229 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3(2-2-5)
14123231 การทำเหมืองข้อมูล 3(2-2-5)
14123621 การประยุกต์ทำแผนที่บนเว็บ 3(2-2-5)
4) กลุ่มเกมและเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน
14122319 การพัฒนากราฟิกบนระบบความเป็นจริงเสมือน 3(2-2-5)
14123345 การออกแบบและพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
3(2-2-5)
14123348 การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(2-2-5)
14123410 การใช้คอมพิวเตอร์เพื่องานออกแบบสร้างสรรค์3(2-2-5)
5) กลุ่มการประยุกต์เพื่อท้องถิ่น
14122611 อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งเพื่อท้องถิ่น 3(2-2-5)
14123339 การเขียนโปรแกรมประยุกต์เพื่อท้องถิ่น 3(2-2-5)
14123622 การประยุกต์วิทยาการคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาท้องถิ่น
3(2-2-5)
14123623 หัวข้อพิเศษด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ 3(2-2-5)
2.3.2 กลุ่มวิชาเลือกวิทยาการจัดการ เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
43604302 การจัดการโลจิสติกส์ 3(3-0-6)
43604303 การประกอบการธุรกิจชุมชน 3(3-0-6)
2.4 กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือสหกิจศึกษา กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 4 หรือ 7 หน่วยกิต ดังนี้
14124903 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาการ
คอมพิวเตอร์** 1(150)
14124904 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาการคอมพิวเตอร์
3(450) หรือ
14124905 การเตรียมสหกิจศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์** 1(90)
14124906 สหกิจศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6(540)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ให้เลือกรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และ ต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของหลักสูตร
ชั้นปีที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต น(ท-ป-อ) |
---|---|---|
01552701 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | 3(3-0-6) |
02531204 | จิตตปัญญาศึกษา | 3(3-0-6) |
04002101 | ทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อชีวิตและอาชีพ | 3(3-0-6) |
14111103 | สถิติสำหรับนักวิทยาศาสตร์ | 3(3-0-6) |
14121106 | วิทยาการคอมพิวเตอร์พื้นฐาน | 3(2-2-5) |
14121210 | จริยธรรมสำหรับวิชาชีพคอมพิวเตอร์ | 3(3-0-6) |
14121309 | ตรรกะดิจิทัลและการเขียนโปรแกรมควบคุม | 3(2-2-5) |
รวม | 21 หน่วยกิต |
ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต น(ท-ป-อ) |
---|---|---|
01540108 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร | 3(3-0-6) |
14124704 | ภาษาอังกฤษสำหรับวิชาชีพคอมพิวเตอร์ | 3(3-0-6) |
14091507 | แคลคูลัส 1 | 3(3-0-6) |
14121308 | โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม | 3(2-2-5) |
14121307 | การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น | 3(2-2-5) |
14121703 | สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ | 3(2-2-5) |
x xxx x xxx | (กลุ่มวิชาเลือก การศึกษาทั่วไป) หมายเหตุ ให้นักศึกษาเลือกกลุ่มวิชามนุษศาสตร์ หรือ วิชาสังคมศาสตร์ หรือวิชา คณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย | 3(3-0-6) |
รวม | 21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา | รวมรวม | หน่วยกิต น(ท-ป-อ) |
---|---|---|
14093641 | วิยุตคณิต | 3(3-0-6) |
14122112 | การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ | 3(2-2-5) |
14122220 | คอมพิวเตอร์กราฟิก | 3(2-2-5) |
14122317 | การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง | 3(2-2-5) |
14122318 | การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงออบเจกต | 3(2-2-5) |
14122609 | หลักการและระบบการจัดการฐานข้อมูล | 3(2-2-5) |
x xxx x xxx | (กลุ่มวิชาเลือก การศึกษาทั่วไป) หมายเหตุ ให้นักศึกษาเลือกกลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร | 3(3-0-6) |
รวม | 21 หน่วยกิต |
ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต น(ท-ป-อ) |
---|---|---|
01550104 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม | 3(3-0-6) |
14093618 | วิธีการเชิงตัวเลข | 3(2-2-5) |
14122221 | ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร | 3(2-2-5) |
14122610 | การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บเบื้องต้น | 3(2-2-5) |
x xxx x xxx | (เอกเลือก 1) | 3(2-2-5) |
x xxx x xxx | (เอกเลือก 2) | 3(2-2-5) |
x xxx x xxx | (เลือกเสรี 1) | 3(…-…-….) |
รวม | 21 หน่วยกิต | |
ชั้นปีที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต น(ท-ป-อ) |
---|---|---|
02500104 | วัฒนธรรมแอ่งสกลนคร | 3(2-2-5) |
03621101 | การเป็นผู้ประกอบการ | 3(3-0-6) |
14123227 | การประมวลผลภาพดิจิทัล | 3(2-2-5) |
14123228 | ปัญญาประดิษฐ | 3(2-2-5) |
x xxx x xxx | โครงงานคอมพิวเตอร์ 1 หมายเหตุ บังคับเรียนเฉพาะนักศึกษาเลือกฝึกประสบการณ์วิชาชีพทาง คอมพิวเตอร | 3(3-0-6) |
x xxx x xxx | (เอกเลือก 3) | 3(2-2-5) |
x xxx x xxx | (เลือกเสรี 2) | 3(…-…-….) |
รวม | 21 หน่วยกิต |
ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต น(ท-ป-อ) |
---|---|---|
14123338 | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ | 3(3-0-6) |
14123404 | ทฤษฎีการคำนวณ | 3(2-2-5) |
14123619 | การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ | 3(2-2-5) |
14123906 | สัมมนาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ | 3(2-2-5) |
14123905 | โครงงานคอมพิวเตอร์ 1 หมายเหตุ บังคับเรียนเฉพาะนักศึกษาเลือกฝึกประสบการณ์วิชาชีพทาง คอมพิวเตอร | 3(2-2-5) |
(เอกเลือก 2) | 3(2-2-5) | |
รวม | 13 หรือ 14 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4
ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต น(ท-ป-อ) |
---|---|---|
x xxx x xxx | (เอกเลือก วจ.) | 3(3-0-6) |
14124902 | โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 หมายเหตุ บังคับเรียนเฉพาะนักศึกษาเลือกฝึกประสบการณ์วิชาชีพทาง คอมพิวเตอร์ | 2(1-2-3) |
14124903 หรือ 14124905 | การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ** หรือ การเตรียมสหกิจศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์** | 1(150) 1(90) |
รวม | 4 หรือ 6 หน่วยกิต |
ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต น(ท-ป-อ) |
---|---|---|
14124904 หรือ 14124906 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ สหกิจศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์ | 3(450) 6(540) |
รวม | 3 หรือ 6 หน่วยกิต |
หลักสูตรเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และดิจิทัล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563
1. ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และดิจิทัล
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Computer and Digital Technology
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และดิจิทัล)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Computer and Digital Technology)
ชื่อย่อภาษาไทย : วท.บ. (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และดิจิทัล)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Sc. (Computer and Digital Technology)
3. วิชาเอก
–
4. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 131 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
5.2 ประเภทของหลักสูตร หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
5.3 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย
5.4 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น จัดการเรียนการสอนโดยตรง
5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563 ปรับปรุงจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ.2558
6.2 สภาวิชาการ เห็นชอบในการนำเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยในการประชุมครั้งที่ 5/2562
วันศุกร์ที่ 22 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
6.3 สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร ในการประชุม ครั้งที่ 11/2562 วันศุกร์ที่ 29 พฤศจิกายน 2562
6.4 เปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2565
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
8.1 นักโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer)
8.2 นักออกแบบเว็บและพัฒนาเว็บไซต์ (Web Designer /Web Developer)
8.3 ผู้ทดสอบโปรแกรม (Software Tester)
8.4 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
8.5 นักออกแบบระบบเครือข่าย (Network System Designer)
8.6 นักพัฒนาระบบเครือข่าย (Network System Engineer)
8.7 ผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Network System Administrator)
8.8 นักพัฒนาเกม (Game Developer)
8.9 นักออกแบบ UI/UX
8.10 นักผลิตสื่อดิจิทัล (Digital Media Content Creator)
8.11 นักพัฒนาฐานข้อมูล (Database Developer)
8.12 นักวิชาการคอมพิวเตอร์หรือนักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ
8.13 ครูหรืออาจารย์ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
8.14 นักเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
1) อาจารย์ ดร.ชายแดน มิ่งเมือง
2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิเชนทร์ จันทร์ปุ่ม
3) อาจารย์ แพรตะวัน จารุตัน
4) อาจารย์ ดร.สุธาสินี คุปตะบุตร
5) อาจารย์ ปิยวรรณ โถปาสอน
โครงสร้างหลักสูตรเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และดิจิทัล
หมวดวิชา | เกณฑ์ สกอ./ 4 ปี | โครงสร้างหลักสูตร |
---|---|---|
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป | ไม่น้อยกว่า 30 | 30 |
1.1 รายวิชาบังคับ | 12 | |
1.2 รายวิชาบังคับเลือก | 18 | |
2. หมวดวิชาเฉพาะ | ไม่น้อยกว่า 84 | ไม่น้อยกว่า 95 |
2.1 กลุ่มวิชาแกน | 9 | 9 |
2.2 กลุ่มวิชาเอกบังคับ | 45 | ไม่น้อยกว่า 70 |
2.2.1 กลุ่มประเด็นด้านองค์การและระบบสารสนเทศ | 9 | 9 |
2.2.2 กลุ่มเทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์ | 18 | 28 |
2.2.3 กลุ่มเทคโนโลยีและวิธีการทางซอฟต์แวร์ | 12 | 18 |
2.2.4 กลุ่มโครงสร้างพื้นฐานของระบบ | 6 | 9 |
2.2.5 กลุ่มฮาร์ดแวร์และสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร | 6 | |
2.3 กลุ่มวิชาเอกเลือก | ไม่น้อยกว่า 12 | |
2.3.1 กลุ่มการวิเคราะห์ข้อมูล | ||
2.3.2 กลุ่มการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ | ||
2.3.3 กลุ่มเครือข่าย | ||
2.3.4 กลุ่มเนื้อหาทางดิจิทัล | ||
2.3.5 กลุ่มเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้ บกพร่องทางการได้ยิน | ||
2.4 กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | ไม่น้อยกว่า 4 | |
2.4.1 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางคอมพิวเตอร | 1 | |
2.4.2 การเตรียมสหกิจศึกษา | 1 | |
2.4.3 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางคอมพิวเตอร์ หรือ | 0-3 | 3 |
2.4.4 สหกิจศึกษา | 6-9 | 6 |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี | ไม่น้อยกว่า 6 | ไม่น้อยกว่า 6 |
รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร | ไม่น้อยกว่า 120 | ไม่น้อยกว่า 131 |
รายวิชาในหลักสูตร
สายวิชาการ
สายสนับสนุน


